ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนนต์ สิปปภากุล
ผมขอนำเอาบทความที่มีผู้เขียนถึงลัทธิเต๋า โดยไม่ทราบว่าผู้ใดเป็นเจ้าของบทความเดิมนี้ เนื่องจากผมไปอ่านเจอในเฟสบุ๊คของเพื่อน จึงอ้างอิงมาจากเฟสบุ๊คของคุณชวาลา ชัยมีแรง เพื่อนผู้นี้เคยเรียนศิลปกรรมเทคโนโคราชมาด้วยกัน ชวาลา ชัยมีแรง เป็นนักแต่งเพลงผู้มีชื่อเสียงของเมืองไทย เพลงดังที่รู้จักกันดีก็คือ เพลงแสงจันทร์ ที่ร้องโดยมาลีฮวนนานั้นแหละคือเพลงที่เขาแต่งขึ้น จึงขอบคุณเจ้าของบทความเดิม และคุณชวาลา ชัยมีแรง มา ณ โอกาสนี้ด้วยครับ
ลัทธิเต๋า
เมื่อ 3,000 ปีมาแล้ว ชาวจีนตามลุ่มแม่น้ำเหลือง มีความเคารพธรรมชาติ เช่น ภูเขา แม่น้ำ ต้นไม้ ฯลฯ เป็นอย่างสูง แต่อันที่จริงเป็นการนับถือ
ไม่ใช่สถานที่ แต่เป็นเจตจำนงของพระผู้เป็ นเจ้า หรือ พูดให้ถูกที่สุดเป็นระเบียบ แห่งเอกภพ ฮ่องเต้จะต้องทำการบูชาสวรร ค์และแผ่นดินปีละครั้งประชา ชนธรรมดาไม่อาจบูชาสวรรค์แล ะโลกง่ายนัก จึงบูชาบรรพบุรุษผู้ล่วงลับ ของตนแทน เชื่อกันว่าวิญญาณของบรรพบุ รุษยังดำรงอยู่ และจะคอยช่วยเหลือบุคคลที่ก ระทำการบูชาให้มีความเจริญร ุ่งเรืองในชีวิต มีการกินเลี้ยงฉลองอย่างมโห ฬาร การบูชาเป็นเรื่องส่วนตัว และโดยตรง ไม่ใช่เพราะมีความกลัว หรือใช้เวทมนตร์คาถา ตามความคิดเก่าแก่ของจีน นักปราชญ์จีนโบราณ จึงพบคำอธิบายซึ่งยืนยันว่า ในเอกภาพนี้มีพลังหรือ อำนาจตรงกันข้ามอยู่ 2 อย่างคือ
1) หยาง (Positive Power) คือพลังบวกมีลักษณะสีแดง เป็นพลังเพศชาย พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ค วามอบอุ่น สว่างไสว มั่นคง สดใส เช่น ดวงอาทิตย์ ไฟ ฯลฯ
2) หยิน (Negative power) คือพลังลบ มีลักษณะสีดำ เป็นพลังเพศหญิง พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ค วามหนาวเย็น ความมืด อ่อนนุ่ม ชื้นแฉะ ลึกลับ และเปลี่ยนแปลง เช่น เงามืด น้ำ ฯลฯ
สวรรค์เป็นหยางแทบทั้งหมด และโลกเป็นหยินแทบทั้งหมดเช ่นกัน จากการปะทะกันของสองสิ่งนี้ ทุกสิ่งทุกอย่างก็อุบัติขึ้ นมา ทุกสิ่งทุกอย่างมีพลังทั้งส องนี้ทั้งนั้น บางครั้งหยินอาจมีพลังแข็งแ รง แต่บางครั้ง หยาง ก็มีพลังมากกว่า ยกตัวอย่างเช่น ท่อนไม้ ตามปกติเป็นหยิน แต่เมื่อโยนเข้าไปในกองไฟ ก็เปลี่ยนรูปเป็นหยางไป ในชีวิตคนหยินและหยางก่อให้ เกิดความล้มเหลวและความสำเร ็จเป็นต้น เช่นเดียวกัน หยางและหยินไม่ใช่เป็นตัวแท นของความดีและความชั่ว แต่ทั้งสองนี้มีความจำเป็นต ่อกฏเกณฑ์และระเบียบของเอกภ พ ทั้งสองนี้ไม่ใช่อยู่ในภาวะ ปะทะกันตลอดเวลา แต่ยามใดมีความสามัคคีกัน ทั้งสองอย่างนี้ก็เป็นสิ่งด ีด้วยกัน
ในระหว่างคริสตวรรษที่ 5 - 6 มีศาสดาทางศาสนาและปรัชญาเก ิดขึ้นอย่างน่าสังเกต ในอินเดียมีศาสดามหาวีรและพ ระพุทธเจ้า ในกรีกมีโสคราตีส ในเปอร์เซียมีโชโรอัสเตอร์ ในจีนมีเล่าจื้อ และขงจื้อ ท่านเล่าจื้อ (Lao tze) เป็นศาสดาของศาสนาเต๋า ซึ่งได้หล่อหลอมชีวิตและอัธ ยาศัยชาวจีนกว่า 2000 ปีมาแล้ว
ชื่อจริงของเล่าจื้อ คือ ลี - เออร์ (Li Uhr) เกิดเมื่อปี 604 ก่อนคริสต์ศักราช ที่จังหวัดโฮนานประเทศจีน ตอนเมื่อเกิดนั้น กล่าวกันว่า พอคลอดออกมาก็เป็นคนมีผมหงอ กขาว และมีอายุ 72 ปีแล้ว ด้วยเหตุนี้แหละท่านจึงชื่อ เล่าจื้อ ซึ่งหมายถึง "เด็กแก่" หรือ "ครูเฒ่า" เมื่อทำงานเป็นบรรณารักษ์ ที่หอสมุดหลวง สำนักของเจ้าเมือง ปรากฎว่ามีชื่อเสียงโด่งดัง เพราะมี อำนาจสติปัญญาที่ลึกซึ้งเว้ นคนธรรมดาสามัญ ครั้งหนึ่งขงจื้อเดินทางมาพ บ ท่านไม่ชอบคำสอนของขงจื้อเล ย ถึงกับพูดว่า "กลับไปเสียเถิดและเลิกความ หยิ่งความอยากของท่านเสียด้ วยนะ"
เล่าจื้อ ไม่ชอบชีวิตหรูหรา แต่ทุกคนดูเหมือนจะมุ่งมั่น เพื่อเงินชื่อเสียงและอำนาจ ในขณะเดียวกันทั้งเมืองก็เต ็มไปด้วยการโกงกินกันอย่างม โหฬาร ด้วยเหตุนี้ วันหนึ่งท่านจึงขับเกวียนเท ียมวัวดำสองตัวมุ่งไปยังภูเ ขาด้านทิศตะวันตก (ทิเบต?) พอถึงประตูเมืองนายประตูจำไ ด้ จึงขอร้องให้ท่านหยุดพักเพื ่อเขียนปรัชญาแห่งชีวิต ท่านจึงได้เขียนตำราที่โด่ง ดังของท่านเป็นอักษรจีน 5,500 ตัว จากนั้นก็ได้เดินทางต่อไป ปรากฏว่าพอถึงช่องแดนระหว่า งภูเขา ท่านก็หายเข้าไปในก้อนเมฆ อะไรได้เกิดขึ้นก็ตามทีเถิด ตั้งแต่นั้นมาไม่มีใครเห็นท ่านอีกเลย
คัมภีร์ที่เล่าจื้อเขียนนี้ มีชื่อว่า เต๋า - เต๋อ - จิง (Tao - the - jing) แปลว่า คัมภีร์แห่งมรรคและอำนาจ เล่าจื้อเริ่มต้นด้วยการตอบ ปัญหาที่ว่า "อะไรคือแก่นของเอกภพ?" "ถ้าเราสามารถมองไปเบื้องหล ังปรากฎการณ์ของสิ่งทั้งหลา ยได้ และพบลักษณาการที่ชีวิตเกิด ขึ้นแล้ว เราจะดำเนินชีวิตอย่างไร?" เล่าจื้ออธิบายว่า คำตอบมีอยู่พร้อมแล้วในว่า "เต๋า" คำนี้แปลกันมาว่า "ทาง", "มรรค" หรือ "แหล่งกำเนิดของทุกสิ่งทุกอ ย่าง" และเป็นการยากที่จะให้ความห มายเพราะคำ ๆ นี้ให้คำจำกัดความไม่ได้ แก่นแท้ของเต๋าลึกลับกว่าคว ามลึกลับใด ๆ แต่ว่าก็มีบางสิ่งบางอย่างท ี่พอจะสังเกตได้ดังนี้
เต๋าไม่ใช่พระเป็นเจ้า แต่เป็นพลังหรืออำนาจที่หลั ่งไหลท่วมท้นทุกสิ่งทุกอย่า ง มีความรักทะนุถนอม แต่ก็ไม่เข้าไปเกี่ยวข้องหร ือยึดสิ่งใดเป็นเจ้าของ เป็นสิ่งที่ทำงานอย่างนุ่มน วลและสงบเสงี่ยม โดยไม่ต้องพยายามสิ่งทั้งหล ายก็จะเกิดผลอย่างมีประสิทธ ิภาพ ให้พิจารณาตัวอย่างความเจริ ญก้าวไปแต่ละปีของฤดูทั้ง 4 ซึ่งดำเนินไปตามกฏเกณฑ์จากฤ ดูหนึ่งไปสู่ฤดูหนึ่ง ชนิดไม่ทันได้สังเกต ถึงอย่างนั้น ในแต่ละฤดูธรรมชาติทำหน้าที ่ของมันอย่างเต็มที่ โดยปราศจากความวุ่นวายในภาว ะเช่นนี้ เต๋าทำหน้าที่ประธานอย่างสง บและอย่างได้ผล (วู - เว) เพื่อให้ทุกสิ่งทุกอย่างดำเ นินไปด้วยดี
ลัทธิเต๋ามีกำเนิดในประเทศจ ีน ต้นกำเนิดเดิมของลัทธิเต๋าไ ม่ใช่ลัทธิหรือศาสนา แต่เป็นปรัชญาธรรม เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างมี คุณค่า โดยอยู่อย่างกลมกลืนกับธรรม ชาติ ตัดสิ่งที่เกิน ความจำเป็นของชีวิต รวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ฟุ่มเฟือยและฝืนกับธรรมช าติ โดยกลับไป มีชีวิตแบบง่าย ๆ ท่ามกลางความสงบของป่าเขาลำ เนาไพร แต่เมื่อเวลาผ่านพ้นไปปรัชญ าเต๋าได้ถูก ดัดแปลงให้สอดคล้องกับความเ ชื่อดั้งเดิมของจีนซึ่งบูชา พระเจ้าประจำธรรมชาติ ผสมกับความเชื่อ ในทางไสยศาสตร์อื่น ๆ จึงเกิดเป็นลัทธิเต๋า ซึ่งจะกล่าวรายละเอียดในตอน ต่อไป
1) หยาง (Positive Power) คือพลังบวกมีลักษณะสีแดง เป็นพลังเพศชาย พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ค
2) หยิน (Negative power) คือพลังลบ มีลักษณะสีดำ เป็นพลังเพศหญิง พบในทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้ค
สวรรค์เป็นหยางแทบทั้งหมด และโลกเป็นหยินแทบทั้งหมดเช
ในระหว่างคริสตวรรษที่ 5 - 6 มีศาสดาทางศาสนาและปรัชญาเก
ชื่อจริงของเล่าจื้อ คือ ลี - เออร์ (Li Uhr) เกิดเมื่อปี 604 ก่อนคริสต์ศักราช ที่จังหวัดโฮนานประเทศจีน ตอนเมื่อเกิดนั้น กล่าวกันว่า พอคลอดออกมาก็เป็นคนมีผมหงอ
เล่าจื้อ ไม่ชอบชีวิตหรูหรา แต่ทุกคนดูเหมือนจะมุ่งมั่น
คัมภีร์ที่เล่าจื้อเขียนนี้
เต๋าไม่ใช่พระเป็นเจ้า แต่เป็นพลังหรืออำนาจที่หลั
ลัทธิเต๋ามีกำเนิดในประเทศจ
ปรัชญาเต๋าเป็นระบบความคิดท
ก่อนที่จะกล่าวถึงระบบแนวคว
คัมภีร์ที่สำคัญที่สุดของลั
โวหารที่ใช้ในคัมภีร์เต๋าเต
ดังที่ได้ทราบมาแล้วว่า คัมภีร์เต๋าเต๋อจิงนี้มี 2 ภาค คือ "เต๋าจิง" และ "เต๋อจิง" เต๋าจิงเริ่มตั้งแต่บทที่ 1 - 37 อธิบายถึงความคิดที่เกี่ยวก
ความจริงสุงสุดที่ลัทธิเต๋า
"...เต๋าที่อธิบายได้ม
ชื่อที่ตั้งให้กันได้ ก็มิใช่ชื่ออันสูงส่ง
เต๋านั้นมิอาจอธิบาย และมิอาจตั้งชื่อ
เมื่อไร้ชื่อทำฉันใด จักให้ผู้อื่นรู้
ข้าพเจ้าขอเรียกสิ่งนั้นว่า
.............
บ่อเกิดนั้นสุดแสนลึกล้ำ
ความลึกล้ำสุดแสนนั้น
คือประตูที่เปิดไปสู่ความรู
นอกจากนี้แล้ว ในเต๋าเต็กเก็งบทที่ 6 ได้ทำให้เราเห็นความยิ่งใหญ
"อหิทธานุภาพอันล้ำลึกนั้นม
เป็นมารดาอันมหัศจรรย์
จากทวาราแห่งมารดานี้เอง
ได้ก่อเกิดรากฐานแห่งฟ้าและ
สำหรับในบทที่ 25 ได้ทำให้เราเห็นและเข้าใจใน
"ก่อนดำรงอยู่ของฟ้าและดิน
มีบางสิ่งบางอย่างมืดมัวเคล
เงียบงันโดดเดี่ยว
อยู่เพียงลำพัง ไม่แปรเปลี่ยน
เป็นอมตะหมุนเวียนไม่หยุดยั
มีค่าควรแก่การเป็นมารดาของ
ข้าพเจ้าไม่ทราบชื่อสิ่งนั้
แต่ถ้าถูกบังคับให้เรียก
ก็จะเรียกว่า "เต๋า"
และจะให้ชื่อว่า "ยิ่งใหญ่"
ยิ่งใหญ่หมายถึงความต่อเนื่
ความต่อเนื่องหมายถึงความยา
ความยาวไกลหมายถึงการกลับสู
ดังนั้นเต๋าจึงยิ่งใหญ่
ฟ้าจึงยิ่งใหญ่
ดินจึงยิ่งใหญ่
ปราชญ์จึงยิ่งใหญ่
นี่คือความยิ่งใหญ่สี่ชนิดใ
และปราชญ์ก็นับเป็นหนึ่งในน
คนทำตามกฎแห่งดิน
ดินทำตามกฎแห่งฟ้า
ฟ้าทำตามกฎแห่งเต๋า
เต๋าคงอยู่และเป็นไปด้วยตนเ
ดังได้กล่าวมาแล้วนี้เราอาจ
"รักษาดวงวิญญาณให้พ้นจากคว
ทำจิตให้แน่วนิ่งเป็นหนึ่งเ
หายใจอย่างละเอียดอ่อนแผ่วเ
เหมือนลมหลายใจของเด็กอ่อนไ
ชำระล้างญาณทัศนะให้หายมืดม
จนอาจแลเห็นกระจ่างชัดได้หร
มีความรักและปกครองอาณาจักร
โดยไม่เข้าไปบังคับบัญชาได้
ติดต่อรับรู้ และเผชิญทุกข์สุข
ด้วยความสงบนิ่งไม่ทุกข์ร้อ
แสวงหาความรู้แจ้ง
เพื่อละทิ้งอวิชชา ได้หรือไม่
ให้กำเนิด ให้การบำรุงเลี้ยง
ให้กำเนิด แต่มิได้ถือตนเป็นเจ้าของ
กระทำกิจ แต่มิได้ยกย่องตนเอง
เป็นผู้นำในหมู่ตน แต่มิได้เข้าไปบงการ
เหล่านี้คือคุณความดีอันลึก
(พจนา จันทรสันติ. 2523 : 67
การรักษาจิตให้บริสุทธิ์ คือ การเข้าถึงตัวตนภายในอันเป็
เราอาจสรุปได้ว่าคำสอนของเต ๋ามุ่งให้บุคคลเข้าสู่สาระแ ห่งแก่นแท้โดยตรง โดยละความยึดถือมั่นในสิ่งท ั้งปวง เป็นผู้อยู่พ้นจากความสงสัย ไปพ้นจากการแบ่งแยก ไม่ให้คุณค่าแก่สิ่งที่คนส่ วนมากยึดถือ สลัดความหยิ่งยะโสโอหังออกไ ป สลัดความฉลาดและความเป็นคนเ จ้าเหตุผล แต่หวนกลับมาดำรงชีวิตอยู่ก ับธรรมชาติ มีชีวิตที่เรียบง่าย มีใจที่บริสุทธิ์ปราศจากควา มอยากความต้องการในสิ่งทั้ง หลายทั้งปวง ความสงบจึงจะเกิดขึ้นได้ ดังคำกล่าวในเต๋าเต๋อจิงบทท ี่ 37 ความว่า
"เต๋าไม่เคยกระทำ
แม้กระนั้นทุกสิ่งทุกอย่างก ็สำเร็จลุล่วงลง
หากกษัตริย์และเจ้านครสามาร ถรักษาเต๋าไว้ได้
โลกก็จะเปลี่ยนแปลงไปโดยควา มต่อเนื่อง
เมื่อโลกเปลี่ยนแปลงไป และเกิดการกระทำต่าง ๆ ขึ้น
จงปล่อยให้ความเรียบง่ายแต่ บรรพกาลเป็นผู้ควบคุมการกระ ทำ
ความเรียบง่ายแต่บรรพกาลนี้ ไร้ชื่อ
มันช่วยขจัดความอยากทั้งปวง
เมื่อขจัดความอยากได้
ความสงบย่อมเกิดขึ้น
ดังนั้นโลกย่อมถึงซึ่งสันติ สุข"
(พจนา จันทรสันติ. 2523 : 67)
อย่างไรก็ตามรากฐานสำคัญที่ จะนำบุคคลไปสู่ชีวิตที่เรีย บง่ายนั้น ท่านเหลาจื๊อได้กล่าวไว้มี 3 ประการ คือ
1. การมีความรัก จะช่วยให้เรากล้าหาญ
2. การทำแต่พอควร จะทำให้เราเป็นคนเรียบง่ายม ีจิตใจกว้างขวาง
3. การไม่เป็นเอกในโลก ทำให้เรารู้จักเป็นผู้ตามที ่ดี
คุณธรรม 3 ประการนี้เป็นหลักปฏิบัติที ่จะทำให้บุคคลได้รับชันะและ ปลอดภัยจากความทุกข์ทั้งปวง ในโลก ซึ่งเราจะศึกษาได้จากเต๋าเต ็กเก็งบทที่ 67 เต๋าเต๋อจิง บทที่ 80
"หวังให้ประเทศเล็กที่มีพลเ มืองน้อย
มีอาหารพอที่จะเลี้ยงดูพลเม ือง
มากกว่าที่เขาต้องการถึงสิบ เท่าร้อยเท่า
ให้ประชาชนเห็นคุณค่าของชีว ิต
และไม่ท่องเที่ยวพเนจรไปไกล
ถึงแม้จะมีพาหนะเรือและรถ
ก็ไม่มีใครปรารถนาจะขับขี่
ถึงแม้จะมีเกราะและอาวุธ
ก็ไม่มีโอกาสจะใช้
ให้กลับไปใช้การจดจำเรื่องร าว
ด้วยการผูกเงื่อนแทนการเขีย นหนังสือ
ให้เขานึกว่าอาหารพื้น ๆ นั้นโอชะ
บ้านเรือนธรรมดานั้นสุขสบาย
ประเพณีวิถีชีวิตนั้นน่าชื่ นชม
ในระหว่างเพื่อนบ้านนั้นต่า งเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน
จนอาจได้ยินไก่ขันสุนัขเห่า จากข้างบ้าน
และตราบจนวันสุดท้ายของชีวิ ต
จะไม่มีใครได้เคยออกไปนอกปร ะเทศของตนเลย"
(พจนา จันทรสันติ. 2523 : 67)
บทที่ 80 นี้ แสดงให้เห็นถึงประเทศในอุดม คติของท่านเหลาจื๊อที่ต้องก ารให้มีรูปแบบที่เรียบง่ายไ ม่เนนความเป็นวัตถุนิยม แต่ส่งเสริมทางด้านจิตวิญญา ณและให้คุณค่าของชีวิต วิถีชีวิตที่เรียบง่ายนี้จะ ทำให้ผู้คนมีความสุขในประเท ศของตน โดยไม่จำเป็นต้องออกไปแสวงห าที่อื่น
ประเทศในอุดมคติของท่านเหลา จื๊อเป็นเพียงประเทศเล็ก ๆ ที่มีพลเมืองน้อย เพราะท่านไม่เห็นด้วยกับการ ล่าอาณานิคม หรือการแสวงหาดินแดนเป็นเมื องขึ้น เพราะจะทำให้ประเทศใหญ่โตเก ินไปจนยากที่จะปกครองได้ทั่ วถึง และเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดก ฎบัญญัติข้อบังคับต่าง ๆ ออกมามากมาย ประเทศน้อย คนน้อย ความสิ้นเปลืองทางเศรษฐกิจย ่อมน้อยอันเป็นไปตามสัดส่วน การปกครองจึงเป็นไปได้ง่ายก ว่า ทฤษฏีนี้เรียกว่า "เซียวก๊กกั้วมิ้น" ท่านเสถียร โพธินันทะ (2514 : 214) แปลว่า "ทำให้เป็นรัฐเล็ก ๆ มีพลเมืองน้อย ๆ " ความคิดทางการเมืองของท่านเ หลาจื๊อนี้ นักทฤษฏีการเมืองในโลกปัจจุ บันบางท่านอาจจะไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะกลุ่มประเทศมหาอำนา จที่มีพื้นดินและจำนวนประชา กรมาก การปกครองแบบเสรีนิยมและธรร มชาตินิยมของท่านเหล่าจื๊อจ ึงยากที่จะปฏิบัติได้ในยุคป ัจจุบันจนกวาเมื่อใดก็ตามทโ ลกที่เราอยู่นี้มีมนุษย์ที่ หมดความเห็นแก่ตัวแล้ว เมื่อนั้นทฤษฎีทางการเมืองแ บบเซียวก๊กกั้วมิ้นอาจจะถูก นำมาใช้ปฏิบัติให้เห็นจริงไ ด้
ก่อนกำเนิดปรัชญาเต๋านั้นชา วจีนเคยนับถือธรรมชาติ เพราะเขาสังเกตเห็นว่าธรรมช าติมีคุณลักษณะสำคัญ 3 ประการคือ
1. ความเป็นวัฎจักรที่หมุนเวีย นเปลี่ยนแปลงไปอย่างเป็นระบ บ เช่น การเกิดขึ้นของกลางวันและกล างคืน การหมุนเวียนเปลี่ยนไปของฤด ูกาล ทำให้เกิดสภาพอากาศที่หลากห ลายกันออกไปในแต่ละปี
2. มีการเกิดและดับตลอดเวลาเช่ นความสว่างไสว และความมืดของพระจันทร์ทำให ้เกิดข้างขึ้นข้างแรม
3. ความเป็นเอกภาพเดียวกันแม้น ว่าเราจะเห็นว่า ธรรมชาติที่ปรากฎแก่ตามีควา มหลากหลายนับไม่ถ้วน ทำให้เกิดคุณสมบัติเฉพาะตัว บางอย่างก็คล้ายคลึง บางอย่างก็ตรงกันข้ามกัน แต่แท้จริงแล้วทั้งหมดนี้ล้ วนเป็นเอกภาพเดียวกัน
ด้วยสาเหตุดังได้กล่าวมาแล้ วนี้ จึงทำให้นักปราชญ์จีนหลายท่ านพยายามค้นหาความลี้ลับของ ธรรมชาติ ทำให้แนวคิดในเรื่องวิญญาณแ ละผีได้แทรกเข้ามาปะปน จนเกิดความคิดที่ว่ามีวิญญา ณแฝงอยู่ในธรรมชาติ วิญญาณที่ว่านี้มีตั้งแต่วิ ญญาณที่อยู่ในท้องฟ้าซึ่งเร ียกว่าเทพแห่งฟ้า หรือเทพแห่งสวรรค์ (ภาษาจีนมีคำเรียกพระเจ้าผู ้ยิ่งใหญ่นี้ว่า "เทียน") ไล่ลงมาจนกระทั่งถึงเทพที่อ ยู่บนพื้นดิน ภูเขา ต้นไม้ ลำธาร แม่น้ำ ฯลฯ ลักษณะความเชื่อเช่นนี้เป็น แบบพหุเทวนิยม (Polytheism) กล่าวคือ เทพเจ้าแต่ละองค์ต่างมีฤทธิ ์อำนาจ ถ้ามนุษย์คนใดต้องการบรรลุถ ึงซึ่งความปรารถนาของตน จะต้องกราบไหว้เซ่นสรวงเทพเ จ้าแต่ละองค์แล้วแต่กรณี บางกลุ่มชนอาจจะยกย่องเทพเจ ้าองค์หนึ่งให้ยิ่งใหญ่กว่า องค์อื่น ๆ แต่ในขณะเดียวกันเทพองค์ที่ ยิ่งใหญ่นี้อาจจะถูกลดความส ำคัญลงสำหรับอีกกลุ่มชนหนึ่ ง
อย่างไรก็ตามโดยทั่ว ๆ ไปแล้ว ชาวจีนในสมัยโบราณนั้นนิยมย กย่องเทพแห่งสวรรค์ให้เป็นใ หญ่กว่าเทพองค์อื่น ๆ เป็นเทวาดิเทพที่ต้องมีการเ ซ่นสรวงบูชาอยู่เสมอ และการทำพิธีกรรมเซ่นสรวงบู ชานั้นสามัญชนไม่วสามารถกระ ทำได้ นอกจากพระมหากษัตริย์เท่านั ้น เพราะเชื่อกันว่าพระองค์เป็ นโอรสแห่งสวรรค์จึงมีหน้าที ่ที่จะต้องกระทำการเซ่นไหว้ เป็นประจำทุกปี จนกลายเป็นรัฐพิธีที่ใหญ่โต จะละเว้นมิได้เลย ในการเซ่นไหว้แต่ละครั้งนิย มฆ่าสัตว์นำมาสังเวยพร้อมกั บข้าวปลาอาหาร รวมทั้งสุรา ที่มีรสเป็นเลิศ การทำพิธีกรรมแต่ละครั้งจะม ีความประณีตในการถวายของบูช า เพราะมีผลต่อความเป็นอยู่ขอ งอาณาประชาราษฏณ์ ปีใดที่เกิดความอดอยากแห้งแ ล้ง ยิ่งต้องมีการเซ่นไหว้เป็นพ ิเศษ มิฉะนั้นแล้วพวกที่คิดร้ายต ่อราชบัลลังก์อาจยกขึ้นมาเป ็นเหตุผลหนึ่งในการล้มล้างอ ำนาจองกษัตริย์เพราะเหตุที่ ว่าเป็นผู้ทำให้ฟ้าพิโรธไม่ เป็นที่โปรดปรานอีกต่อไป และผู้ที่เข้ามาครอบครองคนใ หม่ อาจจะอ้างถึงความชอบธรรมในก ารล้มล้างราชบัลลังก์กษัตริ ย์ของจีน จึงมีหน้าที่เป็นศาสนาจารย์ โดยปริยาย อำนาจในทางศาสนาจึงอยู่ภายใ ต้อิทธิพลทางการเมือง
สำหรับประชาชนซึ่งไม่สามารถ ติดต่อกับพระเจ้าแห่งสวรรค์ ได้ดังเช่นกษัตริย์ พวกเขาจะบูชาเทพบริวารองค์อ ื่น ๆ และวิญญาณบรรพบุรุษเพื่อสร้ างความอบอุ่นใจและความมั่นค งในชีวิต ในแต่ละหมู่บ้านจึงมีศาลเจ้ าให้กราบไหว้ และในแต่ละบ้านก็จะมีป้ายสถ ิตดวงวิญญาณของบรรพบุรุษ
ความเชื่อของชาวจีนในเรื่อง วิญญาณ ได้แสดงให้เห็นถึงความพยายา มที่จะรู้จักและเข้าใจในธรร มชาติ โดยมีเป้าหมายที่จะเข้าใจใน ชีวิตของตนเอง จึงแสดงออกมาในรูปของความเช ื่อแบบวิญญาณนิยม (Animism) ต่อมาเมื่อความรู้ได้พัฒนาข ึ้นความเชื่อในเรื่องพระเจ้ าค่อย ๆ จางลง นักปราชญ์โบราณ ของจีนได้ค้นพบกฎแห่งธรรมชา ติที่ครอบงำความเป็นไปของเอ กภพ และแสดงออกมาในรูปของพลังอำ นาจทั้ง 2 ด้าน ที่เรียกว่าหยินและหยาง พลังหยินเป็นพลังลบที่แสดงอ อกถึงความมืด ความลึกลับ ความหนาวเย็น ความเปียกชื้น และความเป็นหญิง พลังนี้ปรากฏอยู่ในดิน พระจันทร์ และเงามืดส่วนพลังหยางเป็นพ ลังบวก แสดงออกถึงความสว่าง ความอบอุ่น ความแห้ง การสร้างสรรค์ และความเป็นชาย พลังนี้ปรากฏอยู่ในพระอาทิต ย์ และสิ่งที่ส่องแสงสว่าง ในเอกภพนี้จะมีพลังทั้งสองอ ย่างผสมกันในสัดส่วนที่ทำให ้เกิดเป็นสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมา แต่ถ้าพลังอย่างใดอย่างหนึ่ ง ไม่เป็นไปตามสัดส่วนก็จะทำใ ห้ผลที่เกิดขึ้นวิปริตไป
โลกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเอก ภพได้ถูกสร้าง ขึ้นมาด้วยพลังอำนาจทั้ง 2 อย่างนี้ทำให้มีสิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นจำนวนมากนับไม่ ถ้วน แต่นักปราชญ์จีนในสมัยโบราณ ได้พยายามที่จะจัดระบบของมั นออกมาเป็นกลุ่ม ๆ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ ซึ่งจำแนกออกมาได้เป็น 5 ธาตุ คือ ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุไม้ ธาตุโลหะ (ซึ่งมุ่งหมายเฉพาะธาตุทอง) และธาตุดิน
อย่างไรก็ตามแม้นว่านักปราช ญ์จีนในสมัยต่อมาจะสอนให้มน ุษย์มีความเข้าใจธรรมชาติ โดยใช้ปัญญามากกว่าความงมงา ย ผู้ที่จะเข้าใจคำสอนเช่นนี้ ได้ก็คงมีแต่ผู้มีปัญญาเท่า นั้น คนจีน โดยทั่ว ๆ ไปยังคงนับถือวิญญาณและเทพเ จ้า เมื่อวันเวลาผ่านพ้นไปคำสอน ของปราชญ์คงเหลือไว้ให้ปัญญ าชนศึกษาและขบคิดต่อไป ส่วนสามัญชนยังคงยึดถือในคว ามเชื่อเดิม ๆ เทพเจ้ายังคงได้รับการยกย่อ งบูชาถูกยึดถือเป็นที่พึ่งต ่อไป
ปรัชญาของท่านเหลาจื๊อก็ตกอ ยู่ภายใต้กฎนี้เช่นกัน กล่าวคือ คำสอนของท่านที่มุ่งให้บุคค ลเข้าในในธรรมชาติอย่างผู้ม ีปัญญา และดำเนินวิถีชีวิตแบบเรียบ ง่ายที่สุด แต่พอวันเวลาได้ผ่านพ้นไปหล ักคำสอน และคัมภีร์เต๋าเต๋อจิงได้ถู กเสริมเติมแต่ง เน้นหนักในทางอภินิหารและเว ทมนต์ ทำให้ปรัชญาเต๋าได้เปลี่ยนร ูปมาอยู่ในลักษณะของลัทธิศา สนาที่นำเอาความเชื่อในเรื่ อง หยินและหยางมาผสมกับความเชื ่อดั้งเดิมของชาวจีนที่เคยบ ูชาพระเจ้าในธรรมชาติ รวมทั้งความเชื่อในทางไสยศา สตร์และการเล่นแร่แปรธาตุ
บุคคลแรกของลัทธิเต๋าที่เป็ นผู้ก่อตั้งลัทธิคือนักพรต จางเต๋าหลิง แห่งภูเขาหลุ่งหัวซาน มณฑลเสฉวน นักพรตท่านนี้เคยประกาศว่าต นเองสำเร็จทิพยภาวะติดต่อกั บเทพเจ้าได้ ท่านได้ยกให้ท่านเหลาจื๊อเป ็นศาสดา และยกย่องคัมภีร์เต๋าเต๋อจิ งเป็นสูตรของศาสนา พร้อมทั้งเขียนคัมภีร์เพิ่ม ขึ้นมาอีกหลายเล่ม แต่ละเล่มล้วนหนักไปในเรื่อ งของไสยศาสตร์เวทย์มนต์ การเล่นแร่แปรธาตุ และการแสวงหายาอายุวัฒนะ และเชื่อกันว่าพรตผู้นี้มีท ิพยอำนาจมากสามารถติดต่อกับ วิญญาณต่าง ๆ ได้ รวมทั้งติดต่อกับท่านปรมาจา รย์เหลาจื๊อ และมีความสามารถในการปราบปร ามเหล่ามารร้ายภูติผีปีศาจไ ด้ด้วยดาบศักดิ์สิทธิ์ซึ่งท ่านปรมาจารย์เหลาจื๊อได้มอบ ให้
สานุศิษย์จึงยกย่องท่านเป็น "เทียน ฉี เช็ง อิ เต๋า" (T'ien - Shih Cheng - Yi Tao) ซึ่งทอมสัน (Laurence G. Thompson. 1979 : 107) ได้แปลว่า "วิถีทางแห่งเอกภาพอันสมบูร ณ์ของปรมาจารย์ ผู้ได้รับการแต่งตั้งจากสวร รค์" (Way of Perfect Unity of the Master Designated by Heaven.) หรือตำราหลายเล่มใช้คำว่า "อาจารย์แห่งสวรรค์" (Celestial Teacher) ซึ่งต่อมาเจ้าลัทธิทุกคนได้ ใช้สมณศักดิ์นี้กันตลอดมา
ความไม่ธรรมดาของท่านจางเต๋ าหลิงนั้นมีผู้เล่ากันมากมา ย เช่น ท่านได้รับการบวชเป็นนักพรต โดยวิญญาณของท่านเหลาจื๊อเป ็นผู้บวชให้ ท่านสามารถค้นพบสูตรของความ เป็นอมตะท่านจึงมีพลังชีวิต ที่เป็นทิพย์ ท่านมีดาบศักดิ์สิทธิ์ที่สา มารถปราบปีศาจร้ายแม้อยู่ไก ลถึง 1,000 ไมล์ และสุดท้ายเชื่อกันว่าท่านข ึ้นสวรรค์ในขณะที่ยังมีชีวิ ตอยู่โดยขี่เสือขึ้นไปทางยอ ดเขาหลุงหัวซานท่านจางเต๋าห ลิง มีอายุยืนถึง 120 ปี
หลังจากนั้นทายาทสกุลจางได้ สืบทอดตำแหน่งกันต่อมาตั้งแ ต่ลูกจนถึงหลาน ลูกหลานของท่านมีส่วนทำให้ล ัทธิเต๋ามีความเป็นระบบมากข ึ้น นิกายนี้จึงได้ชื่อว่า นิกายเช็งอิ (Cheng - Yi) ซึ่งเน้นในรหัสยลัทธิเชื่อถ ือโชคลางอภินิหารการเข้าทรง และ คาถาอาคมต่าง ๆ นักบวชในนิกายนี้มีครอบครัว ได้เช่นเดียวกับชาวบ้านทั่ว ไป
ในขณะเดียวกันแนวทางเดิมของ ท่านเหลาจื๊อยังคงมีอยู่โดย มีผู้สืบทอดพยายามค้นหาความ จริงภายในด้วยการดำเนินชีวิ ตตามแนวทางของท่านปรมาจารย์ พวกนี้ถูกเรียกว่าพวก "ชวน เชน เจียว" (Ch'uan - chen Chiao) ซึ่ง ทอมสัน (Laurence G. Thomson. 1979 : 107) ได้แปลว่า "การสืบทอดการบรรลุสิ่งสัมบ ูรณ์" (Tradition of Absolute Attainment) พวกนี้มีแนวทางชีวิตคล้ายกั บชาวพุทธและนักพรตก็ดำเนินช ีวิตเหมือนกับพระในพุทธศาสน า ต้องสละโสด งดน้ำเมา รับประทานอาหารามังสวิรัติ และที่เคร่งครัดมาก ๆ อาจต้องไปอยู่ตามถ้ำในเขาใน ป่า
วิวัฒนาการของลัทธิเต๋ายังค งมีอยู่ต่อไปเรื่อย ๆ ปัจจุบันนี้ถ้าเราศึกษาคำสอ นในลัทธิเต๋า เราอาจจะแปลกใจที่เห็นคำสอน ในพุทธศาสนาหลายเรื่องได้เข ้าไปแทรกอยู่ทั้งนี้อาจเป็น ผลสืบเนื่องมาแต่อดีตในยุคส มัยที่พุทธศาสนามหายานได้เข ้าไปเผยแพร่ในจีน ลัทธิเต๋ามีส่วนอย่งมากที่ช ่วยตีความคำสอนในพุทธศาสนาเ ป็นภาษาจีน และชาวพุทธอินเดียที่เข้าไป เผยแพร่ศาสนาในจีน ซึ่งอาจจะมีปัญหาในเรื่องภา ษา ได้ใช้วิธียืมคำบางคำของเต๋ ามาช่วยในการอธิบายแนวคิดขอ งพุทธศาสนา ยิ่งนานวันเท่าใดอิทธิพลของ พุทธศาสนาก็ยิ่งมีอิทธิพลต่ อลัทธิเต๋ามากขึ้น ถ้าเราสังเกตให้ดีจะเห็นว่า ไม่เพียงแต่ในด้านคำสอนเท่า นั้น แม้แต่รูปแบบความเป็นอยู่ขอ งพระสงฆ์ก็ถูกนำไปปรับปรุงใ ช้จนกระทั่งนักบวชเต๋าที่เค ยถือพรตตามถ้ำภูเขา ได้เข้ามาใช้ชีวิตอยู่ในอาร าม และมีการถือโสดเช่นเดียวกับ พระสงฆ์ในพุทธศาสนา อย่างเช่นนิกายชวนเชน เป็นต้น
ลัทธิเต๋าเคยรุ่งโรจน์ในจีน แผ่นดินใหญ่ ต่อมาต้องได้รับผลกระทบจากก ารเปลี่ยนแปลงการปกครองโดยร ัฐบาลคอมมิวนิสต์ได้ยึดครอง ประเทศจีนในปี พ.ศ. 2492 ได้ออกคำสั่งขับไล่นักบวชศา สนาต่าง ๆ นานา เช่น ไม่อนุญาตให้ทำพิธีกรรมทางศ าสนา และไม่ให้เผยแพร่ศาสนา ด้วยวิธีใดทั้งสิ้น ผู้นับถือลัทธิเต๋าในแผ่นดิ นใหญ่จึงเหลือน้อยมาก เพราะหลายคนได้อพยพไปอยู่ไต ้หวันและถิ่นอื่น ๆ จนกระทั่งหลังจากที่ประธานเ หมาได้สิ้นชีวิตในปี พ.ศ. 2520 การผ่อนคลายทางศาสนาของจีนแ ผ่นดินใหญ่จึงดีกว่าแต่ก่อน เพราะประชนชนสามารถประกอบพิ ธีกรรมได้
สำหรับชาวเต๋าที่อพยพไปอยู่ ไต้หวันได้นำเอาความเชื่อแล ะลัทธิธรรมเนียมต่าง ๆ ที่เคยกระทำเมื่อสมัยอยู่ปร ะเทศจีนไปด้วย เป็นเหตุให้มีการเผยแพร่ศาส นาด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การจัดตั้งสมาคม การพิมพ์หนังสือธรรมะและการ จัดพิธีถือศีลกินเจ นอกจากนี้ในบางนิกายมีเสรีภ าพที่จะทำพิธีกรรมต่าง ๆ ได้ เช่น การทรงเจ้า การทำพิธีไล่ผีร้าย การปลุกเสกของขลังและการทำพ ิธีกรรมต่าง ๆ ในวันสำคัญทางศาสนา ด้วยความเป็นปึกแผ่นมั่นคงข องผู้นับถือลัทธิเต๋าในไต้ห วัน เป็นเหตุให้ทางราชการได้ยกย ่องให้เป็นศาสนาประจำชาติ และได้รับการสนับสนุนจากรัฐ บาลเป็นอย่างดีตราบจนทุกวัน นี้
วัดหรือสถานที่ทำพิธีกรรมขอ งลัทธิเต๋ามีลักษณะเหมือนศา ลเจ้าของจีนโดยทั่ว ๆ ไป เพียงแต่การตบแต่งภายในที่จ ะตั้งแท่นที่บูชานั้น ออกจะพิถีพิถันและมีข้อกำหน ดกฎเกณฑ์มากมาย แม้ในไต้หวันซึ่งเป็นแหล่งท ี่มีผู้นับถือลัทธิเต๋ามาก ก็ยังมีการปฏิบัติในเรื่องน ี้ต่างกันออกไป ระหว่างไต้หวันที่อยู่ตอนเห นือและตอนใต้ ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากความเ ชื่อในเรื่องเทพเจ้าและไสยศ าสตร์ แล.....
"เต๋าไม่เคยกระทำ
แม้กระนั้นทุกสิ่งทุกอย่างก
หากกษัตริย์และเจ้านครสามาร
โลกก็จะเปลี่ยนแปลงไปโดยควา
เมื่อโลกเปลี่ยนแปลงไป และเกิดการกระทำต่าง ๆ ขึ้น
จงปล่อยให้ความเรียบง่ายแต่
ความเรียบง่ายแต่บรรพกาลนี้
มันช่วยขจัดความอยากทั้งปวง
เมื่อขจัดความอยากได้
ความสงบย่อมเกิดขึ้น
ดังนั้นโลกย่อมถึงซึ่งสันติ
(พจนา จันทรสันติ. 2523 : 67)
อย่างไรก็ตามรากฐานสำคัญที่
1. การมีความรัก จะช่วยให้เรากล้าหาญ
2. การทำแต่พอควร จะทำให้เราเป็นคนเรียบง่ายม
3. การไม่เป็นเอกในโลก ทำให้เรารู้จักเป็นผู้ตามที
คุณธรรม 3 ประการนี้เป็นหลักปฏิบัติที
"หวังให้ประเทศเล็กที่มีพลเ
มีอาหารพอที่จะเลี้ยงดูพลเม
มากกว่าที่เขาต้องการถึงสิบ
ให้ประชาชนเห็นคุณค่าของชีว
และไม่ท่องเที่ยวพเนจรไปไกล
ถึงแม้จะมีพาหนะเรือและรถ
ก็ไม่มีใครปรารถนาจะขับขี่
ถึงแม้จะมีเกราะและอาวุธ
ก็ไม่มีโอกาสจะใช้
ให้กลับไปใช้การจดจำเรื่องร
ด้วยการผูกเงื่อนแทนการเขีย
ให้เขานึกว่าอาหารพื้น ๆ นั้นโอชะ
บ้านเรือนธรรมดานั้นสุขสบาย
ประเพณีวิถีชีวิตนั้นน่าชื่
ในระหว่างเพื่อนบ้านนั้นต่า
จนอาจได้ยินไก่ขันสุนัขเห่า
และตราบจนวันสุดท้ายของชีวิ
จะไม่มีใครได้เคยออกไปนอกปร
(พจนา จันทรสันติ. 2523 : 67)
บทที่ 80 นี้ แสดงให้เห็นถึงประเทศในอุดม
ประเทศในอุดมคติของท่านเหลา
ก่อนกำเนิดปรัชญาเต๋านั้นชา
1. ความเป็นวัฎจักรที่หมุนเวีย
2. มีการเกิดและดับตลอดเวลาเช่
3. ความเป็นเอกภาพเดียวกันแม้น
ด้วยสาเหตุดังได้กล่าวมาแล้
อย่างไรก็ตามโดยทั่ว ๆ ไปแล้ว ชาวจีนในสมัยโบราณนั้นนิยมย
สำหรับประชาชนซึ่งไม่สามารถ
ความเชื่อของชาวจีนในเรื่อง
โลกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเอก
อย่างไรก็ตามแม้นว่านักปราช
ปรัชญาของท่านเหลาจื๊อก็ตกอ
บุคคลแรกของลัทธิเต๋าที่เป็
สานุศิษย์จึงยกย่องท่านเป็น
ความไม่ธรรมดาของท่านจางเต๋
หลังจากนั้นทายาทสกุลจางได้
ในขณะเดียวกันแนวทางเดิมของ
วิวัฒนาการของลัทธิเต๋ายังค
ลัทธิเต๋าเคยรุ่งโรจน์ในจีน
สำหรับชาวเต๋าที่อพยพไปอยู่
วัดหรือสถานที่ทำพิธีกรรมขอ
ดูเพิ่มเติม (ในเฟสบุ๊คมีแค่นี้ครับ)
ปรัชญาทั้งหลายที่เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ ก็ล้วนเป็นความรู้ทางโลก แม้จะศึกษาปรัชญาจนจบเป็นล้านๆครั้ง และจบมาแล้วเป็นล้านๆภพ ก็มิอาจทำให้ผู้นั้นสำเร็จวิชชาที่แท้จริงได้ เพราะต้องกลับมาเวียนว่ายตายเกิดอยู่ เกิดมาแล้วก็ต้องเรียนใหม่ทุกภพชาติไปไม่สิ้นสุด มีแต่วิชชาของพระพุทธเจ้าเท่านั้น ที่สามารถเรียนจบได้คือ วิชชาพระอรหันต์ เพราะเมื่อบุคคลใดเรียนจบแล้ว ไม่ต้องหวนกลับมาเกิดเพื่อเรียนรู้โลกนี้อีกต่อไป ท่านผู้เป็นนักปราชญ์ทั้งหลาย จงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยธรรม ธรรมของพระพุทธเจ้านั้น ไม่มีปรัชญาหรือแม้แต่ศาสนาอื่นใดจะมาเทียบเคียงได้ ลองพิจารณาด้วยเหตุแลผลเถิด
สัจธรรมที่เที่ยงคือ แม้จะเป็นยุคใดสมัยใด จะเป็นเมื่อล้านปี แสนปี หมื่นปี พันปี ร้อยปีที่ผ่านมา หรือในอนาคตข้างหน้าก็ตาม สังคมบนโลกใบนี้ ก็ล้วนต้องมีคนหลากหลายปะปนกัน ทุกกาลสมัยล้วนต้องมีการเกิด เป็นเด็ก คนหนุ่ม คนแก่ มีการเจ็บการตาย มีผู้นำ ผู้ตาม คนจน คนรวย สุขทุกข์ ผู้มีอำนาจ กษัตริย์ นักรบ ข้าทาส นักบวช นักปราชญ์ นักการเมือง นักการปกครอง นักกฎหมาย มีกฎ มีระเบียบ มีสารพันความวุ่นวาย ความเสมอภาคกันของมนุษย์คือ เมื่อเกิดขึ้นมาแล้วไม่ว่าจะเป็นผู้อยู่ในฐานะอะไร เกิดในตระกูลแลเชื้อชาติใด จะยิ่งใหญ่หรือต่ำต้อยแค่ไหน ก็ล้วนเจอแต่ความวุ่นวายไม่สิ้นสุด หาความสุขที่แท้จริงไม่ได้เลย มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อยเท่านั้น และหนีไม่พ้นความเจ็บความตายไปไม่พ้น
เมื่อผู้คนเกิดมามากมายบนโลกใบนี้แล้ว จึงมีผู้มีปัญญาจำนวนหนึ่งได้พยายามแสวงหาวิธีที่จะทำให้ตนเองแลผู้อื่นได้อยู่ร่วมกันอย่างสันติแลสงบร่มเย็น จึงเกิดนักปราชญ์ นักปรัชญา และศาสดาขึ้นมามากมาย แต่นั้นก็เป็นเพียงการทุเลาให้สังคมวุ่นวายน้อยลงเท่านั้น แต่ไม่มีผู้ใดหรือศาสดาอื่นใดเลย ที่จะนำพาให้มนุษย์พ้นจากวัฏฏะสงสารไปได้ ก็มีแต่พระพุทธเจ้าเท่านั้นที่รู้แจ้งแห่งหนทางทางพ้นทุกข์นี้ นอกนั้น จึงเป็นผู้รู้แต่ทางโลกและยังหลงอยู่ในวัฏฏะสงสารเท่านั้น
อย่างไรก็ตาม ปรัชญาทั้งหลายก็ยังมีความจำเป็นสำหรับมนุษย์ในสังคมหนึ่ง พระพุทธศาสนาก็ยังมีความจำเป็นสำหรับบุคคลอีกกลุ่มหนึ่ง ศาสนาอื่นก็ยังมีคุณต่อผู้คนอีกกลุ่มหนึ่ง นี้แหละความหลากหลายบนโลกธาตุนี้ และจะยังมีต่อไปไม่สิ้นสุดจนกว่า โลกธาตุนี้จะระเบิดและแตกสลายไปในอีกสามหมื่นล้านปีข้างหน้า (โลกมีอายุทั้งสิ้นหกหมื่นล้านปี) เมื่อโลกนี้กลับมาเกิดอีกครั้ง วังวนแลวัฏจักรนี้ก็จะหวนกลับมาเป็นดังเดิมอีกครั้ง แลเป็นเช่นนี้ต่อไปไม่สิ้นสุด เรื่องแบบนี้รู้ด้วยอาสวักขยญาณอันกว้างไกลของพระอรหันต์เจ้า เป็นเรื่องอจินไตยที่อยู่เหนือการรับรู้ของปุถุชน จึงเป็นปัจจัตตังสำหรับนักภาวนาเท่านั้นครับ
ปรัชญา อภิปรัชญา ลัทธิ หรือศาสนาใดศาสนาหนึ่งนั้น ย่อมบังเกิดขึ้นมาตามสภาวะแห่งการเกิดขึ้น เหตุที่บังเกิดขึ้นล้วนสอดคล้องกับสังคมนั้น ประเทศนั้น ในกาลเวลานั้น จึงเหมาะที่จะใช้กับสังคมหรือประเทศนั้นๆ ในกาลเวลาหนึ่ง จึงอาจไม่เหมาะกับสังคมอื่นหรือประเทศอื่น หรือแม้แต่แหล่งต้นกำเนิดเอง ดังจะเห็นได้จากวิวัฒนาการของลัทธิเต๋า ที่มีความเปลี่ยนแปลงและปรับตัวไปตามสังคมใหม่ไม่สิ้นสุด แต่แก่นของเต๋านั้นอาจมีเหลืออยู่ เช่นเดียวกันกับศาสนาพุทธ เมื่อภายหลังต่อมาจนถึงปัจจุบัน แก่นของพุทธได้ถูกบิดเบียนไป แปรปรวนไปเป็นธรรมดา แต่ธรรมะที่แท้จริงนั้นยังมีอยู่ เพราะพระอรหันต์เจ้าเป็นผู้สืบทอดธรรมนั้นเรื่อยมา แม้จะมีน้อยมากขึ้นก็ตาม แต่พระอรหันต์เจ้าแลธรรมจริงของพระพุทธเจ้าจะยังคงอยู่ต่อไป ตราบจนสิ้นกาลของพระพุทธศาสนา 5,000 ปี ธรรมะจริงของพระพุทธเจ้ายังรอผู้มีบุญวาสนาอยู่ และผู้มีปัญญาจะสามารถค้นพบวิถีของพุทธที่แท้จริงได้
ท่านทั้งหลาย สรรพสิ่งล้วนเป็นสิ่งสมมุติที่เกิดมีขึ้นในโลกใบนี้ ล้วนตกอยู่ภายใต้กฎไตรลักษณ์คือ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วดับไป เมื่อมันเกิดขึ้นมาแล้ว จะทรงตัวหรือดำรงอยู่ชั่วขณะหนึ่งและแปรปรวนไปในระยะหนึ่ง สุดท้ายก็จะดับสลายหายไปในที่สุด นี่คือสัจธรรมของโลกธาตุนี้ แล้วท่านจะเลือกเดินทางตามวิถีของปรัชญา ลัทธิ หรือศาสนาใด ก็จงเลือกเอาเองเถิด ส่วนผมเห็นทางสว่างแห่งความพ้นทุกข์แล้ว จึงไม่ลังเลสงสัยในการที่จะก้าวตามรอยบาทแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อถึงที่สุดแห่งธรรม
ขอเจริญในธรรม
ดร.นนต์
17 กันยายน 2555
บทพิเคราะห์โดย ดร.นนต์
ปรัชญาทั้งหลายที่เกิดขึ้นบนโลกใบนี้ ก็ล้วนเป็นความรู้ทางโลก แม้จะศึกษาปรัชญาจนจบเป็นล้านๆครั้ง และจบมาแล้วเป็นล้านๆภพ ก็มิอาจทำให้ผู้นั้นสำเร็จวิชชาที่แท้จริงได้ เพราะต้องกลับมาเวียนว่ายตายเกิดอยู่ เกิดมาแล้วก็ต้องเรียนใหม่ทุกภพชาติไปไม่สิ้นสุด มีแต่วิชชาของพระพุทธเจ้าเท่านั้น ที่สามารถเรียนจบได้คือ วิชชาพระอรหันต์ เพราะเมื่อบุคคลใดเรียนจบแล้ว ไม่ต้องหวนกลับมาเกิดเพื่อเรียนรู้โลกนี้อีกต่อไป ท่านผู้เป็นนักปราชญ์ทั้งหลาย จงเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยธรรม ธรรมของพระพุทธเจ้านั้น ไม่มีปรัชญาหรือแม้แต่ศาสนาอื่นใดจะมาเทียบเคียงได้ ลองพิจารณาด้วยเหตุแลผลเถิด
สัจธรรมที่เที่ยงคือ แม้จะเป็นยุคใดสมัยใด จะเป็นเมื่อล้านปี แสนปี หมื่นปี พันปี ร้อยปีที่ผ่านมา หรือในอนาคตข้างหน้าก็ตาม สังคมบนโลกใบนี้ ก็ล้วนต้องมีคนหลากหลายปะปนกัน ทุกกาลสมัยล้วนต้องมีการเกิด เป็นเด็ก คนหนุ่ม คนแก่ มีการเจ็บการตาย มีผู้นำ ผู้ตาม คนจน คนรวย สุขทุกข์ ผู้มีอำนาจ กษัตริย์ นักรบ ข้าทาส นักบวช นักปราชญ์ นักการเมือง นักการปกครอง นักกฎหมาย มีกฎ มีระเบียบ มีสารพันความวุ่นวาย ความเสมอภาคกันของมนุษย์คือ เมื่อเกิดขึ้นมาแล้วไม่ว่าจะเป็นผู้อยู่ในฐานะอะไร เกิดในตระกูลแลเชื้อชาติใด จะยิ่งใหญ่หรือต่ำต้อยแค่ไหน ก็ล้วนเจอแต่ความวุ่นวายไม่สิ้นสุด หาความสุขที่แท้จริงไม่ได้เลย มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อยเท่านั้น และหนีไม่พ้นความเจ็บความตายไปไม่พ้น
เมื่อผู้คนเกิดมามากมายบนโลกใบนี้แล้ว จึงมีผู้มีปัญญาจำนวนหนึ่งได้พยายามแสวงหาวิธีที่จะทำให้ตนเองแลผู้อื่นได้อยู่ร่วมกันอย่างสันติแลสงบร่มเย็น จึงเกิดนักปราชญ์ นักปรัชญา และศาสดาขึ้นมามากมาย แต่นั้นก็เป็นเพียงการทุเลาให้สังคมวุ่นวายน้อยลงเท่านั้น แต่ไม่มีผู้ใดหรือศาสดาอื่นใดเลย ที่จะนำพาให้มนุษย์พ้นจากวัฏฏะสงสารไปได้ ก็มีแต่พระพุทธเจ้าเท่านั้นที่รู้แจ้งแห่งหนทางทางพ้นทุกข์นี้ นอกนั้น จึงเป็นผู้รู้แต่ทางโลกและยังหลงอยู่ในวัฏฏะสงสารเท่านั้น
อย่างไรก็ตาม ปรัชญาทั้งหลายก็ยังมีความจำเป็นสำหรับมนุษย์ในสังคมหนึ่ง พระพุทธศาสนาก็ยังมีความจำเป็นสำหรับบุคคลอีกกลุ่มหนึ่ง ศาสนาอื่นก็ยังมีคุณต่อผู้คนอีกกลุ่มหนึ่ง นี้แหละความหลากหลายบนโลกธาตุนี้ และจะยังมีต่อไปไม่สิ้นสุดจนกว่า โลกธาตุนี้จะระเบิดและแตกสลายไปในอีกสามหมื่นล้านปีข้างหน้า (โลกมีอายุทั้งสิ้นหกหมื่นล้านปี) เมื่อโลกนี้กลับมาเกิดอีกครั้ง วังวนแลวัฏจักรนี้ก็จะหวนกลับมาเป็นดังเดิมอีกครั้ง แลเป็นเช่นนี้ต่อไปไม่สิ้นสุด เรื่องแบบนี้รู้ด้วยอาสวักขยญาณอันกว้างไกลของพระอรหันต์เจ้า เป็นเรื่องอจินไตยที่อยู่เหนือการรับรู้ของปุถุชน จึงเป็นปัจจัตตังสำหรับนักภาวนาเท่านั้นครับ
ปรัชญา อภิปรัชญา ลัทธิ หรือศาสนาใดศาสนาหนึ่งนั้น ย่อมบังเกิดขึ้นมาตามสภาวะแห่งการเกิดขึ้น เหตุที่บังเกิดขึ้นล้วนสอดคล้องกับสังคมนั้น ประเทศนั้น ในกาลเวลานั้น จึงเหมาะที่จะใช้กับสังคมหรือประเทศนั้นๆ ในกาลเวลาหนึ่ง จึงอาจไม่เหมาะกับสังคมอื่นหรือประเทศอื่น หรือแม้แต่แหล่งต้นกำเนิดเอง ดังจะเห็นได้จากวิวัฒนาการของลัทธิเต๋า ที่มีความเปลี่ยนแปลงและปรับตัวไปตามสังคมใหม่ไม่สิ้นสุด แต่แก่นของเต๋านั้นอาจมีเหลืออยู่ เช่นเดียวกันกับศาสนาพุทธ เมื่อภายหลังต่อมาจนถึงปัจจุบัน แก่นของพุทธได้ถูกบิดเบียนไป แปรปรวนไปเป็นธรรมดา แต่ธรรมะที่แท้จริงนั้นยังมีอยู่ เพราะพระอรหันต์เจ้าเป็นผู้สืบทอดธรรมนั้นเรื่อยมา แม้จะมีน้อยมากขึ้นก็ตาม แต่พระอรหันต์เจ้าแลธรรมจริงของพระพุทธเจ้าจะยังคงอยู่ต่อไป ตราบจนสิ้นกาลของพระพุทธศาสนา 5,000 ปี ธรรมะจริงของพระพุทธเจ้ายังรอผู้มีบุญวาสนาอยู่ และผู้มีปัญญาจะสามารถค้นพบวิถีของพุทธที่แท้จริงได้
ท่านทั้งหลาย สรรพสิ่งล้วนเป็นสิ่งสมมุติที่เกิดมีขึ้นในโลกใบนี้ ล้วนตกอยู่ภายใต้กฎไตรลักษณ์คือ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วดับไป เมื่อมันเกิดขึ้นมาแล้ว จะทรงตัวหรือดำรงอยู่ชั่วขณะหนึ่งและแปรปรวนไปในระยะหนึ่ง สุดท้ายก็จะดับสลายหายไปในที่สุด นี่คือสัจธรรมของโลกธาตุนี้ แล้วท่านจะเลือกเดินทางตามวิถีของปรัชญา ลัทธิ หรือศาสนาใด ก็จงเลือกเอาเองเถิด ส่วนผมเห็นทางสว่างแห่งความพ้นทุกข์แล้ว จึงไม่ลังเลสงสัยในการที่จะก้าวตามรอยบาทแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อถึงที่สุดแห่งธรรม
ขอเจริญในธรรม
ดร.นนต์
17 กันยายน 2555